การประเมินอันตรายร้ายแรง
เมื่อไม่ตอกเสาเข็มทั้งหมด และมีข้อกำหนดความทรุดตัวต่างกันน้อยมาก 0.5-1.5 ซม.เท่านั้น
ที่จะไม่กระทบกับท่อและข้อต่อต่างๆ อุปกรณ์ ต่างๆ ที่จะทำให้เกิด ก๊าซแตก-รั่ว ได้
โอกาสเกิดการรั่วไหลรุนแรงจึงมีโอกาสสูงมาก เพราะไม่ตอกเสาเข็มทั้งโรงแยกก๊าซที่ 6 และโรงแยกก๊าซอีเทน ดังนั้นที่ทำการศึกษาไว้ในโครงการต่างๆ นั้นมากการศึกษา HAZOP ที่ไม่ได้อ้างอิงการทรุดของฐานรากต่างๆ เอาไว้ด้วย และการปกปิดข้อมูล ค่ารับน้ำหนักของดินที่ใช้สูงมากในการออกแบบ จึงไม่สามารถสร้างทำให้ตรงกับการออกแบบ การรับน้ำหนักของโครงสร้างพิเศษสำคัญต่างๆ ด้วย
อันตรายและความรุนแรง จาก ตารางรัศมีการได้รับผลกระทบ กับแผนที่ จะพบว่า ในรายงาน ปิดความจริงในส่วนของผลกระทบที่ครอบคลุม ทั้งตลาด และนิคมมาบตาพุด
5.1 บทนำ
แม้ว่าการดำเนินงานก่อสร้างเพื่อจะเปิดดำเนินการของการของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 5 ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) จะสร้างอยู่บนพื้นที่เดิมซึ่งติดกับโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 1, 2 และ 3 ที่เปิดดำเนินการไปแล้วและได้มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ซึ่งรวมถึงการประเมินอันตรายร้ายแรงไปแล้วก็ตาม แต่การดำเนินงานของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 5 ก็ยังมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาการวิเคราะห์อันตรายร้ายแรง เพื่อหาแนวทางการป้องกันล่วงหน้า รวมทั้งเป็นการทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา
อุบัติเหตุที่เกิด
แผนฉุกเฉินของโรงแยกก๊าซธรรมชาติระยองที่มีอยู่ว่ามีความพร้อมเหมาะสมหรือไม่
ในส่วนนี้จึงเป็นการวิเคราะห์อันตรายร้ายแรง โดยเน้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 5 และทบทวนผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของโรงแยกธรรมชาติทั้ง
3 หน่วย
5.2 วิธีการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้ได้ยึดแนวทางของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรณีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
และบริหารจัดการสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมด้านปิโตรเคมีและสารเคมี (OEPP, 1993) และแนวทางของ
J.R. Taylor (1994) และ API Publication 581 (May
2000) Risk – Based Inspection Base Resource Document สำหรับขั้นตอนการวิเคราะห์ความเสี่ยง
แสดงไว้ในรูปที่ 5.2-1 โดยมีลำดับขั้นตอน ดังนี้
·
กำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตการศึกษา
·
จำแนกอันตราย
·
คำนวณหาโอกาสของการเกิด ตามสมมติฐาน
·
คำนวณความรุนแรง ตามสมมติฐาน
·
ประเมินความเสี่ยงในภาพรวม
·
ประเมินความยอมรับ
·
ทบทวน ปรับปรุงแผนการทำงาน
·
ประเมินและติดตามผล
|
จากรายละเอียดโครงการ
·
ขบวนการผลิต
·
HAZOP
·
บริเวณถังบรรจุผลิตภัณฑ์/สารเคมี
|
|||||
สมมติฐานกรณีเกิดเหตุการณ์
|
||||||
|
การคำนวณจาก
·
เอกสารอ้างอิง
·
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถิติการเกิดอุบัติเหตุ
|
|||||
การคำนวณระดับความรุนแรง
(Consequence Analysis)
|
การคำนวณตามแนวทางของธนาคารโลก
(World Bank)
|
|||||
การพิจารณามาตรการ /
แผนฉุกเฉินขององค์กร |
||||||
การหาแนวทาง / มาตรการลดระดับความรุนแรงป้องกันอัคคีภัย
|
พิจารณาแผน / มาตรการขององค์กรความพร้อม
และรายงานผลจากที่ผ่านมา
|
รูปที่ 5.2-1 : ขั้นตอนการศึกษาด้านการประเมินอันตรายร้ายแรง
5.3 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลพื้นฐานในที่นี้
หมายถึง
ขบวนการการทำงานของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
รวมถึงการใช้สารเคมีต่าง ๆ ที่มีโอกาสเกิดอันตรายร้ายแรงขึ้นมาได้
จากการศึกษาขบวนการของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 5 ซึ่งมีขบวนการผลิตที่คล้ายคลึงกับ
โรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 3 โดยมีหน่วยการผลิตหลัก ดังนี้
โรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 3 โดยมีหน่วยการผลิตหลัก ดังนี้
·
อุปกรณ์รับก๊าซเข้าขบวนการผลิต
·
หน่วยกำจัดปรอท (Mercury
Removal Unit)
·
หน่วยกำจัด Acid Gas (Acid
Gas Removal Unit)
·
หน่วยกำจัดความชื้นของก๊าซ
(Dehydration Unit)
·
หน่วย Ethane Recovery
(Ethane Recovery Unit)
·
หน่วยเพิ่มแรงดันก๊าซธรรมชาติ
(Sales Gas Compression Unit)
·
Fractionation Unit
·
Ethane Treatment Unit
·
LPG Treatment Unit
โครงการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 5 จะมีผลิตภัณฑ์เกิดขึ้น คือ โปรเพน
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL)
โดยอัตราการผลิตเท่ากับ 1,708 5,758 และ 1,977
ตัน/วัน ตามลำดับ
ซึ่งสารเคมีอันตรายที่มีในโครงการที่สำคัญซึ่งเป็นสารเคมีที่ไวไฟหากเกิดการรั่วไหลออกสู่บรรยากาศแล้ว
เมื่อติดไฟอาจส่งผลกระทบร้ายแรงได้ คือ โปรเพน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL) โดย
คุณสมบัติสารอันตรายเป็นดังตารางที่ 5.3-1
คุณสมบัติสารอันตรายเป็นดังตารางที่ 5.3-1
(1) โปรเพน (Propane)
โปรเพน ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
หรือใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมอื่น ๆ โดยไม่ใช่เป็นสารก่อมะเร็ง
เป็นก๊าซไม่มีสี มีกลิ่นน้ำมันจาง ๆ การละลายในน้ำจะละลายได้น้อยมาก โดยปกติการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจะเสถียร
และควรหลีกเลี่ยงจากสารออกซิไดซ์ เช่น คลอรีน โปรมีน ค่ามาตรฐานความปลอดภัย
TLV เท่ากับ 1000 ppm รายละเอียดดังตารางที่ 5.3-1
(2) ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
ก๊าซปิโตรเลียมเหลวใช้เป็นก๊าซหุงต้มหรือใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมและเป็นวัตถุดิบใน
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งสารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง เป็นของเหลว (ภายใต้ความดัน) ไม่มีสี แต่จะมีกลิ่นจากการเติมสารประกอบซัลเฟอร์ การละลายในน้ำจะละลายได้เล็กน้อย ปกติในการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจะเปลี่ยนแปลงได้ช้า และควรหลีกเลี่ยงจากสารออกซิไดซ์เป็นคลอรีน โปรมีน ฟลูออรีน เนื่องจากทำปฏิกิริยารุนแรงต่อกัน และค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV เท่ากับ 1000 ppm รายละเอียดดังตารางที่ 5.3-1
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งสารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง เป็นของเหลว (ภายใต้ความดัน) ไม่มีสี แต่จะมีกลิ่นจากการเติมสารประกอบซัลเฟอร์ การละลายในน้ำจะละลายได้เล็กน้อย ปกติในการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจะเปลี่ยนแปลงได้ช้า และควรหลีกเลี่ยงจากสารออกซิไดซ์เป็นคลอรีน โปรมีน ฟลูออรีน เนื่องจากทำปฏิกิริยารุนแรงต่อกัน และค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV เท่ากับ 1000 ppm รายละเอียดดังตารางที่ 5.3-1
(3) ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (Natural
Gasoline : NGL)
ก๊าซประเภทนี้ใช้เป็นเชื้อเพลิง ใช้ผสม (Blending) กับน้ำมันเชื้อเพลิง
ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ตัวทำละลาย (Solvent) และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
โดยก๊าซประเภทนี้ประกอบด้วย เพนเทน เฮกเซน
เฮปเทน และออกเทน ซึ่งเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นน้ำมันจาง ๆ ปกติในการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจะเปลี่ยนแปลงได้ช้า และมีสารออกซิไดซ์ เช่น คลอรีน โปรมีน ฟลูออรีน ที่ต้องหลีกเลี่ยงจากกัน เนื่องจากทำปฏิกิริยา
รุนแรงต่อกันและค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV เท่ากับ 600 ppm รายละเอียดดังตารางที่ 5.3-1
เฮปเทน และออกเทน ซึ่งเป็นของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นน้ำมันจาง ๆ ปกติในการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีจะเปลี่ยนแปลงได้ช้า และมีสารออกซิไดซ์ เช่น คลอรีน โปรมีน ฟลูออรีน ที่ต้องหลีกเลี่ยงจากกัน เนื่องจากทำปฏิกิริยา
รุนแรงต่อกันและค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV เท่ากับ 600 ppm รายละเอียดดังตารางที่ 5.3-1
จากการทบทวนผลการวิเคราะห์การเกิดอันตรายร้ายแรงสำหรับโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 3 (TESCO, May 1994) และการทำ HAZOP ของโรงแยกก๊าซธรรมชาติ หน่วยที่ 3 (December, 1995) ซึ่งจากการพิจารณารายละเอียดโครงการขบวนการผลิต
พบว่ามีความเป็นไปได้น้อยมากที่จะเกิดอุบัติภัยจากขบวนการผลิตหรือแทบจะไม่เกิดขึ้น
แต่มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นบริเวณถังบรรจุผลิตภัณฑ์
ทั้งนี้เนื่องจากโครงการมี
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารไวไฟและบรรจุไว้ภายใต้ความดัน ได้แก่ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG : Liquid Petroleum Gas) มีจำนวน 3 ถัง และโปรเพน จำนวน 1 ถัง ภายใต้ความดันที่ออกแบบเท่ากับ 17.5 บาร์ และความดันที่ใช้การดำเนินการเท่ากับ 8 บาร์ โดยมีค่าอุณหภูมิจากการออกแบบเท่ากับ 40oซ และอุณหภูมิใช้ดำเนินการเท่ากับ
35oซ สำหรับก๊าซโซลีนธรรมชาติจะเก็บกักที่ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิจากการออกแบบเท่ากับ 35oซ สรุปดังตารางที่ 5.3-2
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสารไวไฟและบรรจุไว้ภายใต้ความดัน ได้แก่ ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG : Liquid Petroleum Gas) มีจำนวน 3 ถัง และโปรเพน จำนวน 1 ถัง ภายใต้ความดันที่ออกแบบเท่ากับ 17.5 บาร์ และความดันที่ใช้การดำเนินการเท่ากับ 8 บาร์ โดยมีค่าอุณหภูมิจากการออกแบบเท่ากับ 40oซ และอุณหภูมิใช้ดำเนินการเท่ากับ
35oซ สำหรับก๊าซโซลีนธรรมชาติจะเก็บกักที่ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิจากการออกแบบเท่ากับ 35oซ สรุปดังตารางที่ 5.3-2
ตารางที่ 5.3-1
คุณสมบัติในด้านต่าง
ๆ ของโปรเพน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และก๊าซโซลีนธรรมชาติ
ลักษณะ/คุณสมบัติ
|
โปรเพน (Propane)
|
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
|
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL)
|
1. ชื่อทางการค้า
|
โปรเพน
|
ก๊าซหุงต้ม (LPG)
|
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL)
|
2. ชื่อเคมี
|
โปรเพน
|
โปรเพน+บิวเทน
|
เพนเทน+เฮกเซน+เฮปเทน+
ออกเทน |
3. ความเข้มข้น
|
98.5-99.6%
|
55.0-64.2% สำหรับโปรเพน
|
52.6-62.9% สำหรับเพนเทน
|
32.5-45.0% สำหรับบิวเทน
|
22.1-26.4% สำหรับเฮกเทน
|
||
12.2-14.1% สำหรับเฮปเทน
|
|||
1.2-1.9% สำหรับออกเทน
|
|||
4. ด้านกายภาพและเคมี
|
|||
·
จุดเดือด
(oC)
|
-42
|
-17
|
36
|
·
จุดหลอมเหลว
(oC)
|
-187 ถึง –189
|
-187
|
-129.73
|
·
ความดันไอ
|
0.772 psi (@-92.4oC)
|
127.88 psig (@37.8oC)
|
13.5 psia (37.8)
|
·
การละลายได้ในน้ำ
|
ละลายได้น้อยมาก
|
ละลายเล็กน้อย
|
ไม่ละลาย
|
·
ความถ่วงจำเพาะ (15oC, น้ำ = 1)
|
0.506-0.507
|
0.522-0.534
|
0.662-0.676
|
·
อัตราการระเหย
(% volatile)
|
100%
|
100%
|
ระเหยอย่างรวดเร็ว
|
·
ความหนาแน่นไอ
(15oC, อากาศ =
1)
|
1.523
|
1.73
|
>1
|
·
ค่าความเป็นกรด-ด่าง
|
Not Available
|
Not Available
|
Not Applicable
|
·
ลักษณะสีและกลิ่น
|
ก๊าซไม่มีสี, มีกลิ่นน้ำมันจางๆ
|
ของเหลว (ภายใต้ความดัน) ไม่มีสี
แต่มีกลิ่นจากการเติมสารประกอบซัลเฟอร์
|
ของเหลวใส ไม่มีสี มีกลิ่นน้ำมันจางๆ
|
5. ด้านอัคคีภัยและการระเบิด
|
|||
·
จุดวาบไฟ
(oC)
|
-104
|
-60 ถึง –105
|
-43
|
·
ขีดจำกัดการติดไฟ
|
|||
-
ค่าต่ำสุด
(LEL) (%)
|
2.1
|
2.0
|
1.4
|
-
ค่าสูงสุด
(UEL) (%)
|
9.5
|
9.0
|
7.6
|
·
อุณหภูมิสามารถติดไฟได้เอง
(oC)
|
462
|
400-500
|
257
|
·
การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
|
ปกติจะเสถียร
|
ปกติเปลี่ยนแปลงได้ช้า
|
ปกติเปลี่ยนแปลงได้ช้า
|
·
สารต้องหลีกเลี่ยงจากกัน
|
สารออกซิไดซ์ (Cl2,
Per2)
|
สารออกซิไดซ์ (Cl2,
Br2, Fl2)
|
สารออกซิไดซ์ (Cl2,
Br2, Fl2)
|
·
สารอันตรายเกิดจากการสลายตัว
|
CO, CO2
|
CO2, CO
|
CO2, CO
|
6. ค่ามาตรฐานความปลอดภัย TLV
|
1,000 ppm
|
1,000 ppm
|
600 ppm
|
ตารางที่ 5.3-2
สภาวะในการกักเก็บโปรเพน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว และก๊าซโซลีนธรรมชาติ
สภาวะการเก็บกัก
|
จำนวน
|
ปริมาณการเก็บกัก
|
||||
ชนิดสาร
|
ค่าจากการออกแบบ
|
ค่าจากการดำเนินการ
|
แต่ละถัง
|
|||
อุณหภูมิ (oC)
|
ความดัน (บาร์)
|
อุณหภูมิ (oC)
|
ความดัน (บาร์)
|
(ถัง)
|
(ลบ.ม.)
|
|
1. โปรเพน
|
40
|
17.5
|
35
|
8.0
|
1
|
4,000
|
2. ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
|
40
|
17.5
|
35
|
8.0
|
3
|
6,000
|
3. ก๊าซโซลีนธรรมชาติ
|
35
|
บรรยากาศ
|
-
|
-
|
1
|
4,000
|
ที่มา : บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน), 2545
5.4 โอกาสของการเกิดอุบัติเหตุ
จากการศึกษาโดย Risk Based Inspection ใน
Base Resource Documents ของ API Publication 581 ได้รวบรวมข้อมูลความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุของอุปกรณ์ต่าง ๆ ดังตารางที่ 5.4-1
จะเห็นว่า Pressure Vessel กรณีรูรั่ว ¼
นิ้ว จะมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 4´10-5
ครั้ง/ปี กรณีรูรั่ว 1 นิ้ว
และ 4 นิ้ว มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 1´10-4
และ 1´10-5 ครั้ง/ปี ตามลำดับ ส่วนการที่ถังเก็บกักแตกจะมีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ 6´10-6
ครั้ง/ปี ส่วนถังที่เก็บกักที่ความดันบรรยากาศ
(Atmospheric Storage Tank) ในกรณีรูรั่วขนาด ¼
นิ้ว ขนาด 1 นิ้ว และขนาด 4 นิ้ว มีโอกาสเกิดรั่วไหลเท่ากับ 4´10-5
1´10-4
และ 1´10-5 ครั้ง/ปี ตามลำดับ และถังเก็บกักแตก (Rupture Tank) มีโอกาสเกิดขึ้นเท่ากับ
2´10-5
ครั้ง/ปี
เนื่องจาก LPG และโปรเพน
จะถูกบรรจุอยู่ภายใต้ความดัน
ดังนั้นกรณีถังเก็บกักแตกจึงมีโอกาสการเกิด 6´10-6
ครั้ง/ปี/ภาชนะบรรจุ
ส่วนก๊าซโซลีนธรรมชาติเท่ากับ 2´10-5 ครั้ง/ปี/ภาชนะบรรจุ
เมื่อพิจารณา LPG โปรเพนและก๊าซโซลีนธรรมชาติจะอยู่ในสถานะก๊าซเมื่อเกิดการรั่วไหลขึ้น
จากโอกาสการเกิดดังกล่าวจัดอยู่ในระดับ Improbable ตามการจัดกลุ่มของการเกิดเหตุการณ์ดังตารางที่
5.4-2
เมื่อนำความถี่การเกิดความล้มเหลวของถังเก็บกักผลิตภัณฑ์ของโครงการมาคำนวณร่วมกับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่าง
ๆ ทั้งในกรณีในสภาวะก๊าซและของเหลวตามเอกสารอ้างอิงของ API โดยแบ่งเป็นกรณีรั่วไหลทันทีทันใด
และรั่วไหลอย่างต่อเนื่อง ดังแสดงในตารางที่ 5.4-3 ถึงตารางที่
5.4-6 และรูปที่ 5.4-1 พบว่าในกรณีเกิดการรั่วไหลของโปรเพนหรือ
LPG ทันทีทันใด มีโอกาสเกิด Flash Fire มากกว่าเหตุการณ์อื่น (4.2´10-8
ครั้ง/ปี) และกรณีกำหนดรั่วไหลอย่างต่อเนื่องมีโอกาสเกิด
Jet Fire มากที่สุด เท่ากับ 3.0´10-8
ครั้ง/ปี
ในส่วนของก๊าซโซลีนธรรมชาติมีโอกาสเกิด Pool Fire เท่านั้น
ดังแสดงในตารางที่ 5.4-7
ตารางที่ 5.4-1
ความถี่ของการเกิดความล้มเหลวของอุปกรณ์ต่าง
ๆ จากการทบทวนข้อมูลทุติยภูมิ
ประเภทอุปกรณ์
|
แหล่งข้อมูล
(แห่ง)
|
ความถี่เกิดการรั่วไหลต่อปี
|
|||
¼ inch
|
1 inch
|
4 inch
|
Rupture
|
||
Centrifugal Pump, Single seal
Centrifugal Pump, Double seal
Column
Compressor, Centrifugal
Compressor, Reciprocating
Filter
Fin/Fan Coolers
Heat Exchanger, Shell
Heat Exchanger, Tube Side
Piping, 0.75 inch diameter, per ft
Piping, 1 inch diameter, per ft
Piping, 2 inch diameter, per ft
Piping, 4 inch diameter, per ft
Piping, 6 inch diameter, per ft
Piping, 8 inch diameter, per ft
Piping, 10 inch diameter, per ft
Piping, 12 inch diameter, per ft
Piping, 16 inch diameter, per ft
Piping, >16 inch diameter, per ft
Pressure Vessels
Reactor
Reciprocating Pumps
Atmospheric Storage Tank
|
1
1
2
1
6
1
3
1
1
3
3
3
3
3
3
3
3
3
3
2
2
7
5
|
6 ´ 10-2
6 ´ 10-3
8 ´ 10-5
-
-
9 ´ 10-4
2 ´ 10-3
4 ´ 10-5
4 ´ 10-5
1 ´ 10-5
5 ´ 10-6
3 ´ 10-6
9 ´ 10-7
4 ´ 10-7
3 ´ 10-7
2 ´ 10-7
1 ´ 10-7
1 ´ 10-7
6 ´ 10-8
4 ´ 10-5
1 ´ 10-4
0.7
4 ´ 10-5
|
5 ´ 10-4
5 ´ 10-4
2 ´ 10-4
1 ´ 10-3
6 ´ 10-3
1 ´ 10-4
3 ´ 10-4
1 ´ 10-4
1 ´ 10-4
-
-
-
6 ´ 10-7
4 ´ 10-7
3 ´ 10-7
3 ´ 10-7
3 ´ 10-7
2 ´ 10-7
2 ´ 10-7
1 ´ 10-4
3 ´ 10-4
0.01
1 ´ 10-4
|
1 ´ 10-4
1 ´ 10-4
2 ´ 10-5
1 ´ 10-4
6 ´ 10-4
5 ´ 10-5
5 ´ 10-8
1 ´ 10-5
1 ´ 10-5
-
-
-
-
-
8 ´ 10-8
8 ´ 10-8
3 ´ 10-8
2 ´ 10-8
2 ´ 10-8
1 ´ 10-5
3 ´ 10-5
0.001
1 ´ 10-5
|
-
-
6 ´ 10-6
-
-
1 ´ 10-5
2 ´ 10-8
6 ´ 10-6
6 ´ 10-6
3 ´ 10-7
5 ´ 10-7
6 ´ 10-7
7 ´ 10-8
8 ´ 10-8
2 ´ 10-8
2 ´ 10-8
2 ´ 10-8
2 ´ 10-8
1 ´ 10-8
6 ´ 10-6
2 ´ 10-5
0.001
2 ´ 10-5
|
ที่มา : API, API Publication 581, first edition, May 2000.
ตารางที่
5.4-2
การจัดกลุ่มโอกาสการเกิดเหตุการณ์
Category |
โอกาสการเกิด
(ต่อปี)
|
1. Improbable
2. Unlikely
3. Infrequent
4. Occasional
5. Frequent
|
1.0´10-5
3.0´10-4
1.0´10-2
0.3
10
|
ที่มา : ปรับปรุงจากเอกสารประกอบการอบรมของ
NPC “Hazard and Operability
(HAZOP) Studies and Hazard Analysis (HAZAN)
ตารางที่ 5.4-3
Specific
Event Probabilities-Instantaneous Release Auto Ignition Not Likely1
Fluid
|
Probabilities of Outcomes
|
|||||
Ignition
|
Vapor Cloud Explosion (VCE)
|
Fireball
|
Flash Fire
|
Jet Fire
|
Pool Fire
|
|
C1-C2
C3-C4
C5
C6-C8
C9-C12
C13-C16
C17-C25
C25+
H2
H2S
|
0.2
0.1
0.1
0.1
0.04
-
-
-
0.9
0.9
|
0.04
0.02
0.02
0.02
0.01
-
-
-
0.4
0.4
|
0.01
0.01
0.01
0.01
0.005
-
-
-
0.1
0.1
|
0.15
0.07
0.07
0.07
0.025
-
-
-
0.4
0.4
|
0.02
0.02
0.01
0.01
0.005
0.005
|
0.08
0.08
0.04
0.04
0.015
0.015
|
หมายเหตุ : Shaded areas represent outcomes that are not
physically possible.
1 Not likely if process temperature is
less than auto ignition temperature plus 80oF.
ที่มา : API, API Publication
581, first edition, May 2000.
ตารางที่ 5.4-4
Specific
Event Probabilities-Instantaneous Release Auto Ignition Not Likely1
Fluid
|
Probabilities of Out Comes
|
|||||
Ignition
|
Vapour Cloud Explosion (VCE)
|
Fireball
|
Flash Fire
|
Jet Fire
|
Pool Fire
|
|
C1-C2
C3-C4
C5
C6-C8
C9-C12
C13-C16
C17-C25
C25+
H2
H2S
|
0.2
0.1
0.1
0.1
0.05
-
-
-
0.9
0.9
|
0.04
0.03
0.03
0.03
0.01
-
-
-
0.4
0.4
|
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
|
0.06
0.02
0.02
0.02
0.02
-
-
-
0.4
0.4
|
0.10
0.05
0.05
0.05
0.02
-
-
-
0.1
0.2
|
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
|
หมายเหตุ : Shaded areas represent outcomes that are not
physically possible.
1 Not likely if process temperature is less than auto
ignition temperature plus 80oF.
ที่มา : API, API Publication 581,
first edition, May 2000.
ตารางที่ 5.4-5
Specific
Event Probabilities-Instantaneous Release Auto Ignition Not Likely1
Fluid
|
Probabilities of Out Comes
|
|||||
Ignition
|
Vapour Cloud Explosion (VCE)
|
Fireball
|
Flash Fire
|
Jet Fire
|
Pool Fire
|
|
C1-C2
C3-C4
C5
C6-C8
C9-C12
C13-C16
C17-C25
C25+
H2
H2S
|
0.1
0.1
0.05
0.05
0.02
0.02
|
0.1
0.1
0.05
0.05
0.02
0.02
|
หมายเหตุ : Shaded areas represent outcomes that are not
physically possible.
1 Not likely if process temperature is less than auto
ignition temperature plus 80oF.
ที่มา : API, API Publication 581,
first edition, May 2000.
ตารางที่ 5.4-6
Specific
Event Probabilities-Continuous Release Auto Ignition Not Likely1
Fluid
|
Probabilities of Outcomes
|
|||||
Ignition
|
Vapor Cloud Explosion (VCE)
|
Fireball
|
Flash Fire
|
Jet Fire
|
Pool Fire
|
|
C1-C2
C3-C4
C5
C6-C8
C9-C12
C13-C16
C17-C25
C25+
H2
H2S
|
0.1
0.1
0.1
0.05
0.05
0.02
0.02
|
0.02
0.02
0.01
0.01
0.005
0.005
|
0.08
0.08
0.04
0.04
0.015
0.015
|
หมายเหตุ : Shaded areas represent outcomes that are not
physically possible.
1 Not likely if process temperature is
less than auto ignition temperature plus 80oF.
ที่มา : API, API Publication 581,
first edition, May 2000.
Instantaneous-Type
Release
|
|
Vapor Cloud
Explosion
|
1.2´10-8
|
|||||
|
Late Ignition
|
||||||
|
Flash Fire
|
4.2´10-8
|
|||||
|
|||||||
Early Ignition
|
Fireball
|
6.0´10-9
|
|||||
|
|||||||
Above Auto Ignition Temperature
|
Fireball
|
-
|
|||||
|
No Ignition
|
Safe Dispersion
|
5.4´10-6
|
||||
|
|||||||
Ignition
|
(0.1)
|
Pool Fire
|
2´10-6
|
||||
No Ignition
|
(0.9)
|
Safe Dispersion
|
1.8´10-5
|
โอกาสเกิดขึ้น
(ครั้ง/ปี)
Continuous-Type Release
โอกาสเกิดขึ้น
(ครั้ง/ปี)
|
|
Vapor Cloud
Explosion
|
1.8´10-8
|
|||||||
|
Late Ignition
|
||||||||
Flash Fire
|
1.2´10-8
|
||||||||
|
(0.1)
|
||||||||
|
Early Ignition
|
Jet Fire
|
3.0´10-8
|
||||||
Above Auto Ignition Temperature
|
Jet Fire
|
-
|
|||||||
No Ignition
|
(0.9)
|
Safe Dispersion
|
5.4´10-6
|
||||||
|
|||||||||
|
|||||||||
Pool Fire
|
2.0´10-7
|
||||||||
Ignition
|
(0.1)
|
||||||||
Jet Fire
|
-
|
||||||||
No Ignition
|
(0.9)
|
Safe Dispersion
|
1.8´10-5
|
ที่มา : API, API Publication 581, first edition, May 2000.
รูปที่ 5.4-1 : แผนภาพต้นไม้แสดงเหตุการณ์เมื่อมีการรั่วไหลของ
American Petroleum Institute
กรณีรั่วไหลทันทีทันใด (Instantaneous Release) และกรณีรั่วไหลอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Release)
ตารางที่
5.4-7
โอกาสที่เกิดเหตุการณ์ต่าง
ๆ ที่เกิดจากการรั่วไหลของถังเก็บกักผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์
|
โอกาสเกิดขึ้นของเหตุการณ์ (ครั้ง/ปี)
|
||||
VCE
|
Flash Fire
|
Fireball / BLEVE
|
Jet Fire
|
Pool Fire
|
|
1. โปรเพน / LPG
|
|||||
·
รั่วไหลทันทีทันใด
(Instantaneous Release)
|
1.2´10-8
|
4.2´10-8
|
6.0´10-9
|
-
|
-
|
·
รั่วไหลอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Release)
|
1.8´10-8
|
1.2´10-8
|
-
|
3.0´10-8
|
-
|
2. ก๊าซโซลีนธรรมชาติ
|
|||||
·
รั่วไหลทันทีทันใด
(Instantaneous Release)
|
-
|
-
|
-
|
-
|
2.0´10-6
|
·
รั่วไหลอย่างต่อเนื่อง
(Continuous Release)
|
-
|
-
|
-
|
-
|
2.0´10-7
|
หมายเหตุ : - โอกาสเกิดการรั่วไหลของโปรเพน / LPG เท่ากับ 6´10-6 ครั้ง/ปี
- โอกาสเกิดการรั่วไหลของก๊าซโซลีนธรรมชาติ
เท่ากับ 2´10-5
ครั้ง/ปี
5.5 การวิเคราะห์อันตรายร้ายแรง (Hazard
Analysis)
สำหรับทางโครงการนั้นได้วางระบบและมาตรการในการป้องกันการเกิดอันตรายร้ายแรง
จัดให้มีระบบดับเพลิง โดยมีระบบป้องกันไฟด้วยหัวฉีดน้ำ โฟม และเคมีภัณฑ์แห้ง
พร้อมกันนี้มีมาตรการป้องกันการเกิดอันตรายจากไฟและระเบิด
ประกอบกับในโรงงานมีระบบความปลอดภัยในการทำงาน ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดอันตรายมีได้น้อยมากหรือแทบไม่เกิดเลย
แต่คณะผู้ศึกษาก็ได้มีการประเมินผลกระทบจากความเสียหาย จากการเกิดอันตรายดังกล่าว
ในกรณีเลวร้ายที่สุด (Worst Case) นอกจากนี้ในการประเมินอันตรายร้ายแรงในแต่ละกรณีนั้น
พิจารณาเป็นไปตามแนวทางของธนาคารโลก (World Bank) ดังแสดงรายละเอียดแผนภูมิต้นไม้ในรูปที่
5.5-1 และ 5.5-2
5.5.1 การจำแนกอันตรายร้ายแรง
การจำแนกอันตรายร้ายแรงจะใช้วิธีและเทคนิคของธนาคารโลก (World
Bank) (Techniques for Assessing Industrial Hazards a Manual, 1990) ซึ่งวิธีการศึกษาพิจารณาดังต่อไปนี้
(1) บริเวณที่มีโอกาสเกิดการรั่วไหล ได้แก่ ถังกักเก็บผลิตภัณฑ์
(2) ลักษณะการรั่วไหลมี 2 แบบ คือ รั่วไหลทันทีทันใด
และรั่วไหลอย่างช้า ๆ
รูปที่ 5.5-1 แผนภูมิการประเมินกรณีเกิดเหตุการณ์รั่วไหลของสารเคมีจากขบวนการผลิตหรือการเก็บกัก
รูปที่ 5.5-2 Flammable Gas Event Tree
(3) การติดไฟมี 2 แบบ คือ ติดไฟแบบทันทีทันใด (Immediate
Ignition) และการติดไฟทิ้งช่วง (Delayed Ignition)
(4) การเกิดไฟไหม้ ความเสียหายจากการเกิดไฟไหม้
จะเกิดจากรัศมีความร้อนที่ได้รับ วัดในหน่วยพลังงานความร้อนต่อตารางเมตร
โดยการเกิดไฟไหม้แบ่งได้ 4 ชนิด ดังนี้
·
Pool fire
·
Jet fire
·
Fireball และ BLEVE (Boiling
Liquid Expanding Vapour Explosion)
·
Flash fire
(5) ความเสียหายที่เกิดจากไฟ ผลกระทบที่เกิดจากไฟต่อบริเวณพื้นที่รอบ ๆ คือ
รังสีความร้อน ความเสียหายที่เกิดจากรังสีความร้อน
สามารถคำนวณมาจากปริมาณที่ได้รับรังสี
ซึ่งจัดเป็นพลังงานต่อหน่วยพื้นที่ที่ได้รับรังสีตลอดเวลาการระเบิด
ความเสียหายจากรังสีความร้อนดังกล่าวสรุปไว้ในตารางที่ 5.5-1
ตารางที่
5.5-1
ความเสียหายจากรังสีความร้อนในระดับพลังงานความร้อนต่างกัน
ระดับความร้อน
|
ชนิดของผลกระทบ
|
|
(kW/m2)
|
ผลกระทบต่ออุปกรณ์
|
ผลกระทบต่อคน
|
37.5
|
·
ทำให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิต
|
·
100% ตาย ภายใน 1 นาที
·
1% ตาย ภายใน 1 วินาที
|
25
|
·
พลังงานต่ำสุดที่ทำให้ไม้ติดไฟโดยง่าย
ไม่มีเปลวไฟ
|
·
100% ตาย ภายใน 1 นาที และมีการบาดเจ็บสาหัส ภายใน 10
วินาที
|
12.5
|
·
พลังงานต่ำสุดทำให้ไม้ติดไฟด้วยเปลวไฟ
ท่อพลาสติกละลาย
|
·
1% ตาย ภายใน 1 นาที ผิวไหม้ ภายใน 10 วินาที
|
4.0
|
·
ทำให้ผิวหนังรู้สึกเจ็บ
ปวดแสบผิวหนัง ถ้าอยู่นานกว่า 20 วินาที แต่ไม่ทำให้พุพอง
|
|
1.6
|
-
|
·
ทำให้รู้สึกไม่สบาย
ถ้าสัมผัสเป็นเวลานาน
|
5.5.2 การวิเคราะห์อันตรายเชิงปริมาณ
(Quantitative Analysis)
การวิเคราะห์อันตรายเชิงปริมาณนั้น
ข้อมูลคุณสมบัติของสารอันตรายและแหล่งอันตรายในโครงการฯ ได้แก่
ถังกักเก็บจะนำมาคำนวณเพื่อหาค่าระดับผลกระทบจากการรั่วไหลของสารเคมี
ซึ่งจะใช้สมมติฐานว่าอันตรายที่เกิดขึ้นนั้นจะเกิดในสภาพที่อุปกรณ์เกิดความเสียหายอย่างสิ้นเชิง
อันทำให้สารเคมีที่อยู่ในระบบรั่วไหลออกมา 100% ซึ่งการประเมินในลักษณะนี้จะได้ค่าผลกระทบสูงสุด
ซึ่งในการประเมินระดับของการแผ่รังสีความร้อน (Heat Radiation) โดยใช้สมมติฐานว่าสารเคมีไวไฟในระบบรั่วไหลแล้วเกิดการติดไฟจากแหล่งกำเนิดนั้นเอง
โดยจะประเมินเป็นค่าของระดับความร้อนที่ก่อให้เกิดผลกระทบแตกต่างกัน
5.6 การคำนวณระดับความรุนแรง
การประเมินอันตรายร้ายแรงจากการดำเนินการโรงแยกก๊าซธรรมชาติ
หน่วยที่ 5 ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง คือ
บริเวณถังเก็บกัก โดยได้พิจารณาศักยภาพของการเกิดอันตรายในกรณีเกิดสารรั่วไหล 100%
แล้วทำให้เกิดเป็นลูกไฟ (Fireballs) Jet Fire และ
Pool Fire สามารถสรุปได้ดังนี้
(1) ถังเก็บกักก๊าซโซลีนธรรมชาติ (Natural Gasoline)
จากผลการศึกษาเมื่อกำหนดให้เกิดรั่วไหลและเกิดเหตุการณ์แบบ
Pool Fire จะพบว่าในช่วงระดับพลังงาน 4.0-37.5 kW/m2
จะมีรัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง 577.9-188.7 เมตร โดยจะครอบคลุมอยู่ภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง (ตารางที่ 5.6-1 และรูปที่ 5.6-1) ส่วนการเกิดเหตุการณ์ BLEVE ในช่วงระดับพลังงาน 4.0-37.5
kW/m2 รัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง 1,850-604.6
เมตร โดยรัศมีความร้อนนี้จะครอบคลุมพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม บางส่วนของชุมชนบ้านพลง ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด (ตารางที่ 5.6-1 และรูปที่ 5.6-2) และรายละเอียดการคำนวณดังแสดงในภาคผนวก น
(2) ถังเก็บกักก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG)
จากผลการศึกษาเมื่อกำหนดให้เกิดรั่วไหลและเกิดเหตุการณ์แบบ
Pool Fire จะพบว่าในช่วงระดับพลังงาน 4.0-37.5 kW/m2
จะมีรัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง 615.6-201.1 เมตร โดยจะครอบคลุมอยู่ภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง (ตารางที่ 5.6-2 และรูปที่ 5.6-3) ส่วนการเกิดเหตุการณ์ BLEVE ในช่วงระดับพลังงาน 4.0-37.5
kW/m2 รัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง 2,060-673.8
เมตร โดยรัศมีความร้อนนี้จะครอบคลุมพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม บางส่วนของชุมชนบ้านพลง ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด (ตารางที่ 5.6-2 และรูปที่ 5.6-4) และรายละเอียดการคำนวณดังแสดงในภาคผนวก น
(3) ถังเก็บกักก๊าซโปรเพน (Propane)
จากผลการศึกษาเมื่อกำหนดให้เกิดรั่วไหลและเกิดเหตุการณ์แบบ
Jet Fire จะพบว่าในช่วงระดับพลังงาน 4.0-37.5 kW/m2
จะมีรัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง 557.1-373.2 เมตร โดยจะครอบคลุมอยู่ภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง และพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม
(ตารางที่ 5.6-3 และรูปที่ 5.6-5)
ส่วนการเกิดเหตุการณ์ BLEVE ในช่วงระดับพลังงาน
4.0-37.5 kW/m2 รัศมีความร้อนแผ่กระจายอยู่ในช่วง
2,070-676.9 เมตร
โดยรัศมีความร้อนนี้จะครอบคลุมพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ นิคมอุตสาหกรรม
บางส่วนของชุมชนบ้านพลง ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด (ตารางที่
5.6-3 และรูปที่ 5.6-6) และรายละเอียดการคำนวณดังแสดงในภาคผนวก
น
5.7 สรุปการประเมินอันตรายร้ายแรง
จากผลการศึกษาเมื่อเกิดกรณีสารเคมีรั่วไหล
ลูกไฟ (Fireball) Pool Fire และ Jet Fire ที่อาจจะเกิดขึ้น
จะมีรัศมีความร้อนจะครอบคลุมพื้นที่ภายในพื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติและบริเวณใกล้เคียง
แต่กระนั้นเหตุการณ์เหล่านี้มีโอกาสเกิดขึ้นน้อยมาก
เนื่องจากทางโรงงานมีมาตรการป้องกันด้านต่าง ๆ มากมาย รวมถึงแผนฉุกเฉิน
และการศึกษา HAZOP ดังนั้นผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากอันตรายร้ายแรงจึงอยู่ในระดับต่ำ
ตารางที่ 5.6-1
รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Pool Fire และ BLEVE
ของก๊าซโซลีนธรรมชาติ (NGL)
ระดับพลังงาน
|
Pool Fire
|
BLEVE
|
||||
(kW/m2)
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
||
4.0
|
577.9
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
1,850.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม บางส่วนของชุมชนบ้านพลง
ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด
|
||
12.5
|
326.9
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
1,050.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
37.5
|
188.7
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
604.6
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
ตารางที่ 5.6-2
รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Pool Fire และ BLEVE
ของ LPG
ระดับพลังงาน
|
Pool Fire
|
BLEVE / Fireball
|
||||
(kW/m2)
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
||
4.0
|
615.6
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ และนิคมอุตสาหกรรม
|
2,060.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม บางส่วนของชุมชนบ้านพลง
ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด
|
||
12.5
|
348.3
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
1,170.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
37.5
|
201.1
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
673.8
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
ตารางที่ 5.6-3
รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Jet Fire และ Fireball
/ BLEVE ของ โปรเพน
ระดับพลังงาน
|
Jet Fire
|
BLEVE / Fireball
|
||||
(kW/m2)
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
รัศมีการแผ่ความร้อน (ม.)
|
ลักษณะการใช้ที่ดิน
|
||
4.0
|
577.1
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
2,070.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม บางส่วนของชุมชนบ้านพลง
ชุมชนห้วยโป่ง และชุมชนมาบชลูด
|
||
12.5
|
431.2
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
1,170.0
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
37.5
|
373.2
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
|
676.9
|
พื้นที่โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
นิคมอุตสาหกรรม
|
||
รูปที่ 5.6-1 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Pool Fire ของก๊าซโซลีนธรรมชาติ
รูปที่ 5.6-2 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด BLEVE ของก๊าซโซลีนธรรมชาติ
รูปที่ 5.6-3 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Pool Fire ของปิโตรเลียมเหลว
(LPG)
รูปที่ 5.6-4 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด BLEVE ของปิโตรเลียมเหลว
(LPG)
รูปที่ 5.6-5 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Jet Fire ของโปรเพน
รูปที่ 5.6-6 รัศมีการแผ่ความร้อน ในกรณีเกิด Fireball / BLEVE ของโปรเพน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น