วันจันทร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ความรู้เรื่องสารเคมีอันตราย :

ความรู้เรื่องสารเคมีอันตราย จาก หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CHEMICAL INFORMATION MANAGEMENT UNIT(CIMU) Environmental and Hazardous Waste ManagementChulalongkorn University (EHWM) สถิติที่ไม่มีการ UPDATE มาตั้งแต่ปี 2549 - อะไรเกิดขึ้นของความใส่ใจ http://www.chemtrack.org/Stat.asp?TID=2 เอกสารเกี่ยวกับสารเคมี บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย รวมทุกหน่วยงาน บัญชี ก บัญชี ข ดูแลโดย กรมโรงงานอุตสาหกรรม บัญชี ก ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 บัญชี ข ดูแลโดย กรมวิชาการเกษตร บัญชี ก ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 บัญชี ข ดูแลโดย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา บัญชี ก ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 บัญชี ข ดูแลโดย กรมประมง บัญชี ก ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 ชนิดที่ 3 ชนิดที่ 4 ดูแลโดย กรมปศุสัตว์ บัญชี ก ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 3 บัญชี ข ดูแลโดย สำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ บัญชี ก ชนิดที่ 3 ดูแลโดย กรมธุรกิจพลังงาน บัญชี ก ชนิดที่ 3 บัญชี ข รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการพัฒนาระบบการตรวจสอบความเคลื่อนไหววัตถุอันตราย ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย เนื้อหารายงาน ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 2 สถานการณ์ระบบข้อมูลสารเคมีและของเสียอันตรายของประเทศไทย พ.ศ. 2545 – 2548 คำนำ สารบัญ ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 เล่มเต็ม Risk Assessment เพื่อการจัดการสารเคมีของประเทศ การกำจัดผลิตภัณฑ์ปนสารปรอทด้วยการเผาอันตรายกว่าที่คิด วิเคราะห์ความเคลื่อนไหวและทิศทางการจัดการสารเคมีในระดับสากลและในประเทศไทย รายงานสถิติการนำเข้าเคมีภัณฑ์อันตราย ประจำปี พ.ศ. 2546 รายงานสถิติการนำเข้าเคมีภัณฑ์อันตราย ประจำปี พ.ศ. 2547 รายงานสถิติการนำเข้าเคมีภัณฑ์อันตราย ประจำปี พ.ศ. 2548 รายงานสถิติการนำเข้าเคมีภัณฑ์อันตราย ประจำปี พ.ศ. 2549 เอกสารเกี่ยวกับของเสียอันตราย รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการนำร่องแนวทางการจัดเก็บข้อมูลวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตราย จากโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการ เนื้อหารายงาน ภาคผนวก 1 ภาคผนวก 2 ภาคผนวก 3 สถานการณ์ระบบข้อมูลสารเคมีและของเสียอันตรายของประเทศไทย พ.ศ. 2545 – 2548 คำนำ สารบัญ ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3 เล่มเต็ม ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต แนวคิดการจัดการของเสียอุตสาหกรรมในต่างประเทศ กับทิศทางการพัฒนาการบริหารจัดการในประเทศไทย เอกสารเกี่ยวกับ REACH สาระและข้อคิดเห็นต่อสมุดปกขาวร่างระเบียบของสหภาพยุโรปว่าด้วยสารเคมี และข้อเสนอการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิดกับอุตสาหกรรมไทย รายงานสถานการณ์ปัจจุบันของระบียบว่าด้วยสารเคมีของสหภาพยุโรป (REACH Update) เอกสารการเตรียมตัวเพื่อรับการประกาศใช้ระเบียบว่าด้วยสารเคมีของสหภาพยุโรป เอกสารเกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยีและความปลอดภัย รายงานฉบับสมบูรณ์ การสำรวจข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับงานวิจัยและนักวิจัยด้านนาโนเทคโนโลยีในประเทศไทย

ทราบว่าเป็นสารอันตรายได้อย่างไร?

เราสามารถทราบว่าสารเคมีที่พบเป็นสารอันตรายหรือไม่ และก่อให้เกิดอันตรายได้อย่างไร? โดยการสังเกตฉลากหรือเครื่องหมาย ซึ่งเป็นเครื่องหมายสากล ที่ติดบนภาชนะบรรจุ ถังเหล็ก แท็งก์ หรือป้ายที่ติดบนรถยนต์หรือรถบรรทุก ดังนี้

วัตถุระเบิด: ระเบิดได้เมื่อถูกกระแทกเสียดสี หรือความร้อน เช่น ทีเอ็นที ดินปืน พลุไฟ ดอกไม้ไฟ

ก๊าซไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูกประกายไฟ เช่น ก๊าซหุงต้ม ก๊าซไฮโดรเจน ก๊าซมีเทน ก๊าซอะเซทีลีน
ก๊าซไม่ไวไฟ, ไม่เป็นพิษ : อาจเกิดระเบิดได้ เมื่อถูกกระแทกอย่างแรก หรือได้รับความร้อนสูงจากภายนอก เช่น ก๊าซออกซิเจน ก๊าซไนโตรเจนเหลว ก๊าซคาร์บอกไดออกไซด์ ก๊าซพิษ : อาจตายไปเมื่อสูดดม เช่น ก๊าซคลอรีน ก๊าซแอมโมเนีย ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์
ของเหลวไวไฟ : ติดไฟง่ายเมื่อถูกประกายไฟ เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง ทินเนอร์ อะซิโตน ไซลิน ของแข็งไวไฟ : ลุกติดไฟง่าย เมื่อถูกเสียดสี หรือความร้อนสูงภายใน 45 นาที เช่น ผงกำมะถัน ฟอสฟอรัสแดง ไม้ขีดไฟ
วัตถุที่ถูกน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ : เช่น แคลเซียมคาร์ไบด์ โซเดียม วัตถุที่เกิดการลุกไหม้ได้เอง : ลุกติดไฟได้เมื่อสัมผัสกับอากาศภายใน 5 นาที เช่น ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสเหลือง โซเดียมซัลไฟต์
วัตถุออกซิไดส์ : ไม่ติดไฟแต่ช่วยให้สารอื่นเกิดการลุกไหม้ได้ดีขึ้น เช่น ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โปแตสเซียมคลอเรต แอมโมเนียม ไนเตรท ออร์แกนิคเปอร์ออกไซด์ : อาจเกิดระเบิดได้เมื่อถูกความร้อนไวต่อการกระทบและเสียดสีทำปฏิกริยารุนแรงกับสารอื่น ๆ เช่น อะซิโตนเปอร์ออกไซด์
วัตถุติดเชื้อ : ;วัตถุที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนและทำให้เกิดโรคได้ เช่น ของเสียอันตรายจากโรงพยาบาล เข็มฉีดยาที่ใช้แล้ว เชื้อโรคต่างๆ วัตถุมีพิษ : อาจทำให้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บอย่างรุนแรงจากการกิน การสูดดม หรือจาการสัมผัสทางผิวหนัง เช่น อาร์ซีนิค ไซนาไนด์ ปรอท สารฆ่าแมลง สารปรอทศัตรูพืช โหละหนักเป็นพิษ
วัตถุกัมมันตรังสี : วัตถุที่สามารถให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น โคบอลต์ เรเดียม วัตถุกัดกร่อน : สามารถกัดกร่อนผิวหนังและเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น กรดเกลือ กรดกำมะถัน โซเดียม โฮดรอกไซด์ แคลเซียมไฮโปคลอไรต์
วัตถุอื่นๆ ที่เป็นอันตราย : เช่น ของเสีย อันตราย แอสเบสทอสขาว เบนซัลดีไฮด์ของเสียปนเปื้อน ไดออกซิน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น